ฟลัตเตอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟลัตเตอร์ เป็นเฟรมเวิร์กส่วนติดต่อผู้ใช้ที่โอเพนซอร์ส ที่สร้างโดยกูเกิล สามารถใช้สร้างแอปพลิเคชันได้แบบข้ามแพลตฟอร์มจากฐานโค้ดเดี่ยว (single codebase) ไปทำงานบน เว็บเบราว์เซอร์,[4] แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ), ไอโอเอส, กูเกิล ฟิวเชีย, เว็บเบราว์เซอร์, ลินุกซ์, แมคโอเอส (รวมไปถึง แอปเปิลซิลิคอน) และ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ได้. มีการกล่าวถึงตั้งแต่ปี 2558,[5][6] และมีการเปิดตัวเวอร์ชันแรกของฟลัตเตอร์ในปี 2560[1]

ข้อมูลเบื้องต้น ผู้ออกแบบ, นักพัฒนา ...
ฟลัตเตอร์
ผู้ออกแบบGoogle
นักพัฒนาGoogle and community
วันที่เปิดตัวAlpha (v0.0.6) / 12 พฤษภาคม 2017; 7 ปีก่อน (2017-05-12)[1]
รุ่นเสถียร
3.29.2[2]  / 13 มีนาคม 2025; 40 วันก่อน (13 มีนาคม 2025)
ที่เก็บข้อมูล
ภาษาที่เขียนC, C++, Dart[3]
แพลตฟอร์มแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ), ไอโอเอส, กูเกิล ฟิวเชีย, เว็บเบราว์เซอร์, ลินุกซ์, แมคโอเอส (รวมไปถึง แอปเปิลซิลิคอน) และ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์
ประเภทApplication framework
สัญญาอนุญาตNew BSD License
เว็บไซต์flutter.dev
ปิด

ส่วนประกอบหลัก

ส่วนประกอบหลักของฟลัตเตอร์คือ:

  • แพลตฟอร์มสำหรับภาษาดาร์ต (dart)
  • เอนจิ้นฟลัตเตอร์
  • ไลบรารีพื้นฐาน
  • วิดเจ็ตสำหรับการออกแบบ
  • เครื่องมือนักพัฒนาฟลัตเตอร์[7]

การรองรับสิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ

ฟลัตเตอร์สร้างปลั๊กอินเพื่อรองรับ สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ และเครื่องมือแก้ไขข้อความ ต่อไปนี้

สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จอื่นสามารถใช้ปลั๊กอินที่สร้างโดยชุมชน[8]

ดูเพิ่ม

  • Apache Cordova
  • Titanium SDK
  • Codename One
  • Mobile development framework
  • NativeScript
  • GTK
  • React Native
  • Xamarin


อ้างอิง

Loading related searches...

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.